วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิกส์  รหัสวิชา (2201-2419)

หน่วยที่5

การสร้างข้อความตกแต่งภาพ


แผนการเรียนรู้ที่ 2 เครื่องมือในการสร้างตัวอักษร

จุดมุ่งหมายรายวิชา   

  1. เพื่อให้เข้าใจหลักการทำงานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
  2. เพื่อให้มีทักษะการใช้โปรแกรมกราฟิกส์
  3. มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  ค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์

ชื่อเรื่อง    เครื่องมือในการสร้างตัวอักษร

หัวเรื่อง    1. การสร้างตัวอักษรแบบ Outline
                      - สร้างตัวอักษรแบบ Point type
                      - สร้างตัวอักษรแบบ Paragraph type
                 2. การสร้างตัวอักษรแบบ Bitmap

เนื้อหา


การสร้างข้อความตกแต่งภาพ

            ตัวอักษรที่ใช้ในโปรแกรมกราฟฟิกส์  โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
        1. แบบ Outline หรือแบบ Vector
แบบเวกเตอร์ (Vector)ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะเกิดจากการลากเส้นตรง เส้นโค้งที่คำนวณด้วยสมการทางคณิตศาสตร์จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งต่อเนื่องกันจนเกิดเป็นภาพหรือตัวอักษร ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะไม่มีปัญหาเรื่องรอยแตกบนขอบตัวอักษร เมื่อเกิดการย่อ/ขยายตัวอักษรมากๆ จึงเหมาะสำหรับนำมาใชใ้นงานสิ่งพิมพ์และงานศิลป์ อีกทั้งตัวอักษรแบบนี้จะนำไปตกแต่งเอฟเฟ็กต์โดยใช้ฟิลเตอร์ไม่ได้
        2. แบบ (Bitmap)
ตัวอักษรแบบBitmap จะเกิดจากการเรียงช่องสีเป็นตารางเพื่อสร้างภาพ หรือตัวอักษร ทำให้สะดวกใน
การประมวลผลเรื่องสีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงสีและการตกแต่งภาพ ฉะนั้นข้อดีของอักษร
แบบBitmap คือ สามารถใช้ได้กับการใส่เอฟเฟ็กต์และฟิลเตอร์ ในขณะที่ข้อเสียคือ เมื่อมีการขยายขนาดจะทำให้ช่องสีขยายใหญ่เกินไปจนเห็นตัวอักษรแตกเป็นช่องเหลี่ยม ๆ

เครื่องมือในการสร้างตัวอักษร

        สามารถสร้างข้อความได้โดยใช้คำสั่ง Type Tool ซึ่งมีลักษณะการใช้ที่แตกต่างกัน 4 รูปแบบ

ดังนี้



การสร้างข้อความปกติ (Point type)













การสร้างตัวอักษรในแนวตั้งด้วย Vertical Type Tool

        (Vertical Type Tool) เป็นเครื่องมือสร้างตัวอักษรแบบเวคเตอร์เช่นกัน คือเมื่อพิมพ์ไปแล้วสามารถกลับมาแก้ไขภายหลังได้ ซึ่งความแตกต่างของเครื่องมือสร้างข้อความตัวนี้สามารถพิมพ์ข้อความเป็นแนวตั้งได้ ซึ่งเหมาะกับการนำไปใช้ในการออกแบบกราฟิกที่เป็นข้อความสั้นๆ












การสร้างขัอความแบบย่อหน้า (Paragraph type)

การสร้างข้อความแบบย่อหน้า หรือ Paragraph Text สามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือ cab Horizontal Type Tool แดรกเมาส์สร้างกล่องข้อความ เพื่อกำหนดขอบเขตของตัวอักษร ขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้


  1. คลิกเลือกเครื่องมือ  cab Horizontal Type Tool
  2. เลือกรูปแบบตัวอักษร ขนาดที่ต้องการ ความคมชัดของตัวอักษร และแนวการจัดวางแนวตัวอักษร
  3. คลิกเลือกสีตัวอักษร
  4. แดรกเมาส์บนเอกสารเพื่อกำหนดขอบเขตของตัวอักษรที่ต้องการพิมพ์
  5. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ โดยกดปุ่ม <Enter> เมื่อต้องการขึ้นย่อหน้าใหม่เท่านั้น
  6. ถ้าใช้วิธีการ Copy ข้อความมาวาง หรือพิมพ์ข้อความที่มีความยาวเกินกว่าขนาดกล่องข้อความที่สร้างขึ้น จะปรากฎสัญลักษณ์  ที่มุมล่างด้านซ้าย ซึ่งแสดงให้ทราบว่ามีข้อความซ่อนอยู่
  7. แดรกเมาส์ขยายกล่องข้อความ จนสามารถแสดงข้อความได้ทั้งหมด

ตัวอักษรแบบ Bitmap

โปรแกรมใช้ในการสร้างตัวอักษรแบบ Bitmap คือ การสร้างตัวอักษรออกมาเป็น Selection หรือขอบเขตในการเลือกแล้วจึงให้เราเติมสีลงไปด้วยวิธีต่างๆ จนเกิดเป็นตัวอักษรที่สมบูรณ์มีข้อดีคือตัวอักษรจะมีสีสันมากกว่าเพราะลงสีได้หลายรูปแบบ

วิธีการสร้างตัวอักษรแบบ Bitmap

1. คลิกขวาเครื่องมือ เพื่อสร้างตัวอักษร
2. เลือกปุ่ม เพื่อสร้างตัวอักษรแบบ Bitmap
3. กําหนดขนาดและชนิดของตัวอักษร ตามปกติ
4. คลิกเมาส์ในตําแหน่งเริ่มต้น บนกระดานวาดภาพ









7. เติมสีให้ตัวอักษรที่สร้างขึ้น ด้วยการคลิกคำสั่ง Edit>Stroke จากเมนูเพื่อเขียนสีรอบๆพื้นที่ที่ถูกเลือก หรือถ้าจะเทสีลงให้ใช้คำสั่ง Fill ที่อยู่ใกล้ๆกันก็ได้

8. ภายในหน้าต่าง Stroke กำหนดขนาดของเส้น จากช่อง Width:
9. คลิกเลือกสีจากช่อง Color:







คำถาม
        ให้นักศึกษาบอกข้อดีและข้อเสีย ของตัวอักษรแบบ Vector และตัวอักษรแบบ Bitmap ว่ามีอะไรบ้าง










ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลจาก
http://www.apw.ac.th/department/com/Data/ICT/type/type8.pdf
http://webquest.kanokrat.info/?page_id=1330









27 ความคิดเห็น:

  1. ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก
    สิรวิชญ์ อบเชย เลขที่27

    ตอบลบ
  2. จากข้อดีและข้อเสียของตัวอักษรแบบเวกเตอร์ และบิตแมพที่ผ่านมาเราสรุปได้ดังนี้คือ

    ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก
    ธนธรณ์ ทามแก้ว เลขที่ 33

    ตอบลบ
  3. ลักษณะเด่นของ Vector คือ สามารถยืดหรือหดภาพเท่าใดก็ได้ โดยที่ภาพจะไม่แตก ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง คงคุณภาพของภาพไว้ได้เหมือนเดิม และยังสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความสูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย และไฟล์มีขนาดเล็กกว่าภาพ Bitmap ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration\
    นายณัฐวุฒิ สุขสวัสดิ์ ปวช3/4 เลขที่ 31 <3

    ตอบลบ
  4. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    ศิริชัย โตไหล เลขที่15

    ตอบลบ
  5. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    อมีร ทองดี เลขที่ 13

    ตอบลบ
  6. ไฟล์บิตแมป (หรือเรียกว่าแรสเตอร์) เป็นภาพที่สร้างขึ้นมาจากพิกเซล ถ้าคุณซูมเข้าไฟล์บิตแมป (ภาพด้านล่างซูม 400%) คุณจะเริ่มเห็นแต่ละพิกเซลและนสิ่งสำคัญหากคุณต้องการไฟล์บิตแมปสำหรับการพิมพ์ต้องใช้ภาพที่ใช้มีความละเอียดที่สูง 300 dpi หรือมากกว่า

    ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างหรือแก้ไข ไฟล์บิตแมป เช่น Photoshop และไฟล์ เวกเตอร์ ก็คือ Iillustrator
    และอีกอย่างไฟล์ภาพที่ได้จากกล้องถ่ายภาพของคุณจะเป็นไฟล์บิตแมป เช่น .JPEG, .RAW ซึ่งความละเอียดก็จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของกล้องเช่นกัน
    ตัวอย่างไฟล์เวกเตอร์
    EPS (Encapsulated PostScript) .eps
    AI (Adobe Illustrator Artwork) .ai
    CDR (CorelDRAW).cdr
    SVG (Scalable Vector Graphics) .svg
    PDF (Portable Document Format) .pdf
    ตัวอย่างไฟล์บิตเมป
    TIFF (Tagged Image File Format) .tif, .tiff
    JPEG .jpg, .jpeg
    PSD (Photoshop Document) .psd
    GIF (Graphics Interchange Format) .gif
    PNG (Portable Network Graphics) .png
    เปรียบเที่ยบภาพเวกเตอร์กับบิตแมป
    EPS and PDF
    อานันท์ เวชการ ช 3/4 เลขที่ 29

    ตอบลบ
  7. แบบเวกเตอร์ (Vector)
    -ข้อดี 1.ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะเกิดจากการลากเส้นตรง
    2. ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะไม่มีปัญหาเรื่องรอยแตกบนขอบตัวอักษร
    -ข้อเสีย
    1.ตัวอักษรแบบนี้จะนำไปตกแต่งเอฟเฟ็กต์โดยใช้ฟิลเตอร์ไม่ได้
    ตัวอักษรแบบ (Bitmap)
    -ข้อดี
    1.ตัวอักษรแบบBitmap จะเกิดจากการเรียงช่องสีเป็นตารางเพื่อสร้างภาพ หรือตัวอักษร
    2.สะดวกในการประมวลผลเรื่องสี
    -ข้อเสีย
    1.เมื่อมีการขยายขนาดจะทำให้ช่องสีขยายใหญ่เกินไปจนเห็นตัวอักษรแตกเป็นช่องเหลี่ยม ๆ
    นายอนุวัฒน์ เอี่ยมบุญฤทธิ์ 3/4 เลขที่ 11

    ตอบลบ
  8. ไฟล์บิตแมป (หรือเรียกว่าแรสเตอร์) เป็นภาพที่สร้างขึ้นมาจากพิกเซล ถ้าคุณซูมเข้าไฟล์บิตแมป (ภาพด้านล่างซูม 400%) คุณจะเริ่มเห็นแต่ละพิกเซลและนสิ่งสำคัญหากคุณต้องการไฟล์บิตแมปสำหรับการพิมพ์ต้องใช้ภาพที่ใช้มีความละเอียดที่สูง 300 dpi หรือมากกว่า

    ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการสร้างหรือแก้ไข ไฟล์บิตแมป เช่น Photoshop และไฟล์ เวกเตอร์ ก็คือ Iillustrator
    และอีกอย่างไฟล์ภาพที่ได้จากกล้องถ่ายภาพของคุณจะเป็นไฟล์บิตแมป เช่น .JPEG, .RAW ซึ่งความละเอียดก็จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของกล้องเช่นกัน
    ตัวอย่างไฟล์เวกเตอร์
    EPS (Encapsulated PostScript) .eps
    AI (Adobe Illustrator Artwork) .ai
    CDR (CorelDRAW).cdr
    SVG (Scalable Vector Graphics) .svg
    PDF (Portable Document Format) .pdf
    ตัวอย่างไฟล์บิตเมป
    TIFF (Tagged Image File Format) .tif, .tiff
    JPEG .jpg, .jpeg
    PSD (Photoshop Document) .psd
    GIF (Graphics Interchange Format) .gif
    PNG (Portable Network Graphics) .png
    เปรียบเที่ยบภาพเวกเตอร์กับบิตแมป
    EPS and PDF
    อานันท์ เวชการ ช 3/4 เลขที่ 29

    ตอบลบ
  9. 1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    ธนา เจดีย์พราหมณ์ เลขที่10

    ตอบลบ
  10. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    ธีระพล คำจอน เลขที่14

    ตอบลบ
  11. ตัวอักษร Vector
    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก
    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก
    ตัวอักษร Bitmap
    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก
    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก
    นายนิติพล เพชรบาง C3/4 เลขที่ 20

    ตอบลบ
  12. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    ศุภฤกษ์ สีทอง เลขที่22

    ตอบลบ
  13. ตัวอักษร Vector
    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก
    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก
    ตัวอักษร Bitmap
    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก
    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นายวิชัย คำมะลี C3/4 เลขที่ 2

    ตอบลบ
  14. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    กิตติทัช ชุมจันทร์ c3/4 เลขที่16

    ตอบลบ
  15. ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก
    ธนิสร ทำสวน เลขที่ 23

    ตอบลบ
  16. ตัวอักษรVector
    1. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง
    2. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration
    3. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า
    ตัวอักษรBitmap
    1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย
    2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่
    3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด
    4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ
    ชานน จันทร์เพ็ญศรี เลขที่ 8

    ตอบลบ
  17. ไม่ระบุชื่อ3 กันยายน 2558 เวลา 21:27

    ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก

    ตอบลบ
  18. ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นาย สิทธิพล พูลชัย ปวช.3/4 เลขที่26

    ตอบลบ
  19. ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นาย สิทธิพล พูลชัย ปวช.3/4 เลขที่2

    ตอบลบ
  20. แบบเวกเตอร์ (Vector)
    -ข้อดี 1.ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะเกิดจากการลากเส้นตรง
    2. ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะไม่มีปัญหาเรื่องรอยแตกบนขอบตัวอักษร
    -ข้อเสีย
    1.ตัวอักษรแบบนี้จะนำไปตกแต่งเอฟเฟ็กต์โดยใช้ฟิลเตอร์ไม่ได้
    ตัวอักษรแบบ (Bitmap)
    -ข้อดี
    1.ตัวอักษรแบบBitmap จะเกิดจากการเรียงช่องสีเป็นตารางเพื่อสร้างภาพ หรือตัวอักษร
    2.สะดวกในการประมวลผลเรื่องสี
    -ข้อเสีย
    1.เมื่อมีการขยายขนาดจะทำให้ช่องสีขยายใหญ่เกินไปจนเห็นตัวอักษรแตกเป็นช่องเหลี่ยม ๆ
    นายฐิติโชติ นาริน ห้อง 3/4 เลขที่ 3

    ตอบลบ
  21. ตัวอักษร Vector
    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก
    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก
    ตัวอักษร Bitmap
    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก
    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นายณัฐกฤษ แก้วดี C3/4 เลขที่ 1

    ตอบลบ
  22. ตัวอักษรเวกเตอร์

    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก

    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก

    ตัวอักษรบิตแมพ

    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก

    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้

    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นาย สุรัตน์ สุขเอม ปวช.3/4 เลขที่41

    ตอบลบ
  23. ตัวอักษร Vector


    1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก
    2.แก้ไขข้อความได้ง่าย
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้น้อยมาก
    ตัวอักษร Bitmap
    1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก
    2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้
    3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทำได้มาก

    นายธัญพิสิษฐ์ พบปะบุญ ปวช 3/4 เลข36

    ตอบลบ